สาระน่ารู้
มารู้ จักโรคโควิด 19
โรคโควิด 19 คืออะไร
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด 19 (Coronavirus Disesse 2019
(COVID-19) เป็นตระกูลของไวรัสที่ก่อให้อาการป่วยตั้งแต่โรคไข้หวัดธรรมดาไปจนถึง
โรคที่มีความรุนแรงมาก เช่น โรคระบบทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (MERS-CoV)
โรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARSCoV)เป็นสายพันธุ์ใหม่ที่ไม่เคยพบมาก่อน
ในมนุษย์ ก่อให้เกิดอาการป่วยระบบทางเดินหายใจในคนและสามารถแพร่ เชื้อจากคนสู่คนได้
โดยเชื้อไวรัสนี้พบการระบาดครั้งแรกในเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเปย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน
ในช่วงปลายปี 2019 หลังจากนั้นได้มีการระบาดไปทั่วโลก องค์การอนามั้ยโลกจึงตั้งชื่อ
การติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใหม่นี้ว่า โรคโควิด 19
อาการของผู้ป่วยโรคโควิด 19 มีอาการอย่างไร
อาการทั่วไปการ ได้แก่ อากรระบบผู้ซื้อสินค้าทางเดินหายใจมีไข้ไอมีน้ำมูกเพลงเจ็บคอหายใจลำบาก
เหนื่อยหอบไม่ได้กลิ่นไม่รู้รสในห้างหุ้นส่วนจำกัดกรณีที่อาการรุนแรงมากอาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
เช่นปอดบวมปอดอักเสบ ไตวายหรืออาจไป
โรคโควิด 19 แพร่กระจายเชื้อได้อย่างไร
โรคชนิดนี้มีความเป็นไปได้ที่มีสัตว์เป็นแหล่งรังโรค ส่วนใหญ่แพร่กระจายผ่าน
การสัมผัสกับผู้ติดเชื้อผ่านทางละอองเสมหะจากการไอ น้ำมูก น้ำลาย ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐาน
สนับสนุนการแพร่กระจายเชื้อผ่านทางการพื้นผิวสัมผัสที่มีไวรัสแล้วมาสัมผัส ปาก จมูกและ
ตา สามารถแพร่เชื้อผ่านทางเชื้อที่ถูกขับถ่ายออกมากับอุจจาระเข้ าสู่อีกคนหนึ่งโด้ยผ่าน
เข้าทางปาก (Feco-oral route) ได้ด้วย
โรคโควิด 19 รักษาได้อย่างไร
ยังไม่มียาสำหรับป้องกันหรือรักษาโรคโควิด 19 ผู้ที่ติดเชื้ออาจต้องได้รับ
การรักษาแบบประคับประคองตามอาการ โดยอาการที่มีแตกต่างกัน บางคนรุนแรงไม่มาก
ลักษณะเหมือนไข้หวัดทั่วไป บางคนรุนแรงมาก ทำให้เกิดปอดอักเสบได้ ต้องสังเกตอาการ
ใกล้ชิดร่วมกับการรักษาด้วยการประคับประคองอาการจนกว่าจะพ้นอาการช่วงนั้น
และยังไม่มียาตัวใดที่มีหลักฐานชัดเจนว่า รักษาโรคโควิด 19 ได้โดยตรง
ใครบ้างที่เสี่ยงสูงต่อการติด โรคโควิด 19
กลุ่มเสี่ยงโดยตรงที่อาจสัมผัสกับเชื้อ ได้แก่ คุณผู้ที่เพิ่งกลับจากเนชั่พื้นที่เสี่ยงสัมผัสใกล้ชิด
คุณผู้ป่วยสงสัยติดูเชื้อกลุ่มเสี่ยงที่คุณต้องระวังหากติดเชื้ออาจมีอาการรุนแรง ได้แก่
ผู้สูงอายุ 70 ขึ้นไปปีคุณผู้ป่วยโรคเรื้อรังเช่นเบาหวานความสามารถดันโลหิตสูงสุดสูงหลอดเลือดเพลงหัวใจ
ภูมิแพ้ที่คุณเด็กอายุเพิ่มข้อมูลที่สูงสุดต่ำกว่า 5 ปี